หลักการและเหตุผลเด็กเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่สำคัญของประเทศเพราะเด็กเป็นกำลังสำคัญที่ต้องเติบโต
เป็นผู้ทำหน้าที่พัฒนาประเทศชาติและบริหารบ้านเมืองต่อไปในอนาคตกลุ่มประเทศกำลังพัฒนาพบว่ามีเด็กอายุ
ต่ำกว่า 5 ปีอย่างน้อย200ล้านคนมีพัฒนาการไม่สมวัยผลการคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัยไทย พ.ศ.2560พบ
เด็กไทยมีพัฒนาการสมวัย 78.4 % พัฒนาการสงสัยล่าช้า 21.6 %วัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการมีส่วนร่วมใน
การจัดการเด็กพัฒนาการสงสัยล่าช้ามุ่งส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของคนในชุมชนเพื่อเฝ้าระวังพัฒนาการ
เด็กสงสัยล่าช้าวิธีการศึกษาการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research: PAR)ผล
การศึกษา
1) ขั้นตอนก่อนพัฒนารูปแบบ ศึกษาบริบทและสถานการณ์ โดยใช้กระบวนการสัมภาษณ์ CIPP model
ในกลุ่มผู้บริหาร ผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ จำนวน 42 คนระยะเวลาศึกษา1ต.ค.61-30ก.ย.62 และชี้แจงนโยบาย
มหัศจรรย์1000แรกแห่งชีวิต
2)ระยะพัฒนารูปแบบสร้างนโยบายการข้อตกลงร่วมกันเพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กขับเคลื่อนผ่านนโยบายมหัศจรรย์1000วันแรกแห่งชีวิตและศึกษาข้อมูลสถานการณ์พัฒนาการเด็ก0-5ปีกำหนดแนวทางในการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก0-5ปีแนวทางในกาติดตามส่งต่อ และประเมินผลเด็ก0-5ปี พัฒนาสมรรถนะบุคคลากร อาสาสมัครสาธารณสุข ครูศูนย์พัฒนาเด็ก ผู้นำชุมชน จัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการ
3)ระยะประเมินรูปแบบประเมินผลกิจกรรมใช้กระบวนการสัมภาษณ์CIPP modelประเมินนโยบายมหัศจรรย์1000วันแรกของ
ชีวิตและกระบวนการ Focus group ปะเมินสถานการณ์พัฒนาการเด็ก0-5ปีประเมินการใช้คู่มือ DSPM เต็มพื้นที่
ประเมินกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการเด็ก มีนวัตกรรม สื่อการสอน ระบบการส่งต่อแบบมีส่วนร่วม
กระบวนการพัฒนาท าให้เกิดกาพัฒนาศักยภาพผู้น าชุมชนด้านการสงเสริมพัฒนาการเด็กที่สามารถจัดการสุขภาพ
ชุมชนของตนเองได้อย่างมีส่วนร่วมเกิดการประสานการท างานของผู้น าชุมชนด้านการส่งเสริมพัฒนาการเด็กเกิด
ความร่วมมือเป็นเครือข่ายสุขภาพของภาคส่วนต่างๆและสามารถจัดการวางแผนชุมชนตนเองได้แบบมีส่วนร่วม
พบว่าองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น ผู้นำำชุมชนและผู้ปกครองเด็ก ครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เจ้าหน้าทีโรงพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพต าบลส่วนใหญ่มีความพร้อมและยินดีที่จะส่งเสริม เฝ้าระวัง ร่วมสร้างนโยบายร่วมกันในการด าเนิน
โครงการต่างๆ เพื่อสร้างความเข้มแข็งของสังคม ในการจัดการเด็กพัฒนาการสงสัยล่าช้า ผลส าเร็จของการศึกษา
คือการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาเด็กพัฒนาการสงสัยล่าช้า ในชุมชน เห็นได้จาก การเกิดนักวิจัยชุมชนโดยคน
ในชุมชน เกิดนวัตกรรม สื่อการสอน แนวทางการคัดกรอง แนวทางการส่งต่อ และครูศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมี
บทบาทในการเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กมากขึ้นเกิดกลุ่มแกนน าในชุมชนที่มีการดำเนินกิจกรรมมีแนวทางในการ
ดำเนินงานต่อเนื่องในการเฝ้าระวังติดตามพัฒนาการเด็กแบบมีส่วนร่วมเป็นรูปแบบการจัดการและแบบอย่างที่ดี
กับพื้นที่ต่างๆและสมารถขยายผลให้กับพื้นที่อื่นๆได้
ข้อเสนอแนะสร้างระบบฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบันเพื่อสะดวกในการวิเคราะห์ปัญหาเจ้าหน้าที่ผู้ประเมินต้องสร้าง
ความตระหนักรู้ให้กับผู้ปกครองให้มี HLในการใช้คู่ มือ DSPM ให้คุ่มค่าเกิดการเรียนรู้ผ่าน คิวอาร์โค้ต ของแต่ละ
ช่วงวัย ทดลองเก็บข้อมูลเพื่อวิเคราะห์มีผู้ปกครองเข้าถึงบริการมากน้อยขนาดไหนเพื่อทันยุค4.0ตามวัตถุประสงค์
ที่ตั้งไว้และจัดกิจกรรมเพื่อสร้างความตระหนักในผู้ปกครองเพื่อเป็นขวัญก าลังใจ
ค าส าคัญ (keyword)พัฒนารูปแบบ, วิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ,การจัดการ,เด็กพัฒนาการสงสัยล่าช้า
* พยาบาลวิชาชีพช านาญการศูนย์อนามัยที่ 11
** พยาบาลวิชาชีพช านาญการศูนย์อนามัยที่ 11
***พยาบาลวิชาชีพช านาญการศูนย์อนามัยที่ 11
>>> อ่านต่อ <<<
ความเห็นล่าสุด